- เว็บไซต์ไอลอว์
- ศูนย์ข้อมูลฯ
ทนายอานนท์
26 กันยายน 2566 เวลา 9.00 น. ศาลอาญานัดอานนท์ นำภา ทนายความสิทธิมนุษยชนฟังคำพิพากษาคดีตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 ที่เขาถูกกล่าวหาว่ากล่าวคำปราศรัยหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ระหว่างร่วมการชุมนุม #...
“เด็กถามในสิ่งที่เราตอบไม่ได้ เช่น ทำไมศาลต้องทำตัวแบบนั้นแบบนี้ เราก็รู้สึกว่าตอบลำบากหวะ แต่เขาเห็นไง”
ท่ามกลางเสียงสับลาบ ดนตรีเพื่อชีวิต และการกระทบกันของภาชนะใส่เครื่องดื่ม...
คดีมาตรา 112 จำนวนหนึ่งเป็นคดีที่มีมูลเหตุมาจากการปราศรัยหรือแสดงความคิดเห็นในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการใช้พระราชอำนาจหรือการดำเนินการบางประการของพระมหากษัตริย์ เช่น...
(1) "อานนท์ นำภา" เริ่มเข้าร่วมขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาชนมาตั้งแต่สมัยยังเป็นนักศึกษาคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ต่อมา ภายหลังการรัฐประหาร 2557 เขาเป็นหนึ่งในทีมทนายของ “...
พุทธศักราช 2363-2565 คือช่วงเวลาที่มีผู้ถูกตั้งข้อหา "มาตรา 112" มากที่สุดในประวัติศาสตร์
จากการเก็บข้อมูลของศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน นับตั้งแต่พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา...
นับตั้งแต่การชุมนุมใหญ่ในเดือนกรกฎาคม 2563 จนถึงเดือนสิงหาคม 2564 รัฐพยายามใช้ยุทธวิธีที่หลากหลายเพื่อสกัดกั้นการชุมนุมที่ค่อยๆ ขยายตัว...
ในเดือนสิงหาคม 2564 ท่ามกลางการระบาดอย่างหนักของโควิด19 และอุณหภูมิทางการเมืองที่ร้อนแรงขึ้นจากความล้มเหลวในการบริหารจัดการของรัฐบาล นักกิจกรรมที่เคลื่อนไหวทางการเมืองถูกส่งเข้าเรือนจำอย่างน้อย 11 คน...