- เว็บไซต์ไอลอว์
- ศูนย์ข้อมูลฯ
ประจำปี
-
บรรยากาศการแสดงออกทางการเมืองตลอดปี 2564 เป็นไปอย่าง "พลุ่งพล่าน" และ "อึดอัด" ในเวลาเดียวกัน แม้ว่าโควิด19 จะแพร่ระบาดอย่างหนักทำให้ต้องสั่งล็อคดาวน์หลายช่วง แต่การชุมนุมบนท้องถนนยังเกิดขึ้นมากกว่า 1,500 ครั้ง ซึ่งมากกว่าปี 2563 ถึงกว่าเท่าตัว...
-
การเลือกตั้งที่เกิดขึ้นในปี 2562 เป็นการเลือกตั้งที่คนไทยหลายคนรอคอย เพราะนับจากปี 2554 ประเทศไทยก็ยังไม่มีการเลือกตั้งอีกเลย แม้ปี 2557 จะมีการจัดการเลือกตั้งในเดือนกุมภาพันธ์ หลังรัฐบาลยิ่งลักษณ์ชินวัตรยุบสภาแต่การเลือกตั้งครั้งนั้นก็ถูกประกาศให้เป็นโมฆะเพราะกลุ่มกปปส....
-
สถาบันตุลาการหรือศาลได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของความขัดแย้งทางการเมือง เมื่อต้องทำหน้าที่ตีความกฎหมาย พิจารณาตัดสินคดี ปัญหาเกิดขึ้นเพราะหลังการรัฐประหาร ผู้มีอำนาจซึ่งไม่มีความชอบธรรมในทางการเมืองมักออกกฎหมายกดปราบผู้ต่อต้าน จึงเป็นการผลักให้ศาลต้องเผชิญหน้ากับประชาชนโดยตรง...
-
การปกป้องเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ถือเป็นภารกิจที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ให้ความสำคัญเป็นลำดับต้น ดังจะเห็นได้จากการระบุไว้ในประกาศ คสช.ที่ 1/2557 ซึ่งออกมาในวันยึดอำนาจ 22 พฤษภาคม 2557 ในทางปฏิบัติ คสช.ใช้อำนาจพิเศษเรียกตัวผู้ที่ คสช....
-
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 116 หรือข้อหา “ยุยงปลุกปั่น” เป็นกฎหมายที่ถูกนำมาใช้บ่อยครั้งหลังการรัฐประหารในปี 2557 เป็นต้นมา โดยเฉพาะกับกลุ่มคนที่แสดงออกหรือแสดงความคิดเห็นทางการเมืองในเชิงวิพากษ์วิจารณ์หรือต่อต้านคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) จากข้อมูลที่ศูนย์ข้อมูลคดีเสรีภาพรวบรวมไว้ ตั้งแต่ 22...
-
"ห้ามชุมนุมเกินห้าคน" เป็นคำสั่งหัวหน้า คสช. ฉบับที่ 3/2558 ข้อ 12. ซึ่งถูกยกเลิกไปแล้วก่อนการเลือกตั้ง ตลอด 5 ปีกว่าในยุค คสช.1 มีการปิดกั้นแทรกแซงกิจกรรมมากกว่า 200 ครั้ง ส่วนหนึ่งเจ้าหน้าที่อ้างอำนาจตามคำสั่งดังกล่าวสั่งห้ามจัดทั้งงานเสวนา งานละคร...
-
ปี 2562 เป็นปีที่เทรนด์การฟ้องคดีแบบเก่าๆ กลับมาฮิตมากขึ้นอีกครั้งเมื่อข้อหา หมิ่นประมาท ตามประมวลกฎหมายอาญา ถูกเอามาใช้ฟ้องคดีเพื่อ “ปิดปาก” การวิพากษ์วิจารณ์สารพัดเรื่อง เกิดเป็นคดีขึ้นมาจำนวนมาก ทั้งการหมิ่นเหมืองแร่, หมิ่นฟาร์มไก่, หมิ่นทหาร, หมิ่น กกต., หมิ่นบ้านป่าแหว่ง, หมิ่นสารพิษ...
-
"คนอยากเลือกตั้ง" คือการรวมตัวของกลุ่มประชาชนอย่างหลวมๆ เพื่อทำกิจกรรมเรียกร้องให้มีการเลือกตั้งภายในปี 2561 ภายใต้ชื่อกลุ่ม "คนอยากเลือกตั้ง" โดยจัดชุมนุมสาธารณะทั้งในพื้นที่กรุงเทพมหานครและจังหวัดอื่น เช่น เชียงใหม่ ชลบุรี นครราชสีมา ระหว่างเดือนมกราคมจนถึงเดือนพฤษภาคม 2561...
-
พ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ 2558 (พ.ร.บ.ชุมนุม) เป็นกฎหมายที่ถูกผ่านโดยสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ในปี 2558 ช่วงที่คำสั่งหัวหน้าคสช.ฉบับที่ 3/2558 ข้อ 12 เรื่องห้ามชุมนุมทางการเมืองตั้งแต่ห้าคนขึ้นไปยังบังคับใช้อยู่ พ.ร.บ.นี้ไม่มีบทบาทเป็นเครื่องมือปิดกั้นการชุมนุมมากนัก เจ้าหน้าที่อาจนำพ.ร.บ.ชุมนุมฯ...
-
ตลอดปี 2561 บรรยากาศทางการเมืองผันผวนและคาดเดาไม่ได้ ช่วงต้นปีสังคมคาดหวังว่า คสช. จะจัดการเลือกตั้งคืนอำนาจให้ประชาชนภายในปีนี้ แต่สุดท้ายเงื่อนเวลาที่ถูกวางไว้ก็ทำให้โรดแมปสู่การเลือกตั้งต้องถูกขยายออกไปเป็นอย่างเร็วที่สุดต้นปี 2562...