- เว็บไซต์ไอลอว์
- ศูนย์ข้อมูลฯ
กระสุนยาง
วันที่ 26 กันยายน 2566 เวลา 9.00 น. ศาลแพ่งนัดฟังคำพิพากษาคดีที่ธนาพงศ์ เกิ่งไพบูลย์และชาญณรงค์ เอื้ออุดมโชติ สองช่างภาพข่าวที่ถูกยิงด้วยกระสุนยางระหว่างการชุมนุมเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 2564...
การใช้กำลังเข้าสลายการชุมนุมในวันที่ 18 พฤศจิกายน 2565 บริเวณถนนดินสอ เป็นการใช้อำนาจนอกกฎหมายที่ชัดเจน และเป็นอีกครั้งที่ตอกย้ำว่า รัฐไทยไม่เคยเคารพ พ.ร.บ.ชุมนุมฯ...
หลังจากพักรักษาตัวอยู่ที่โรงพยาบาลสิบวัน พายุ บุญโสภณ หรือ พายุ ดาวดิน จากเครือข่ายปฏิรูปที่ดินภาคอีสาน ผู้บาดเจ็บถูกยิงด้วยกระสุนยางเข้าที่ตาขวาระหว่างการสลายการชุมนุมเมื่อวันที่ 18...
#ตำรวจกระทืบหมอ เป็นแฮชแท็กที่ผู้ใช้ทวิตเตอร์ทวีตถึงมากที่สุดในคืนวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2564 หลังจากที่หนึ่งในอาสาสมัครทีม DNA บุคลากรทางการแพทย์และอาสาสมัครถูกตำรวจทำร้ายร่างกาย...
เปิดข้อมูลผู้บาดเจ็บจากเหตุปะทะในการชุมนุมตลอดปี 2564 พบผู้บาดเจ็บ 528 คน เป็นตำรวจ 146 นาย ผู้ชุมนุมเสียชีวิต 1 คน ตาบอด 2 คน เป็นนักข่าวบาดเจ็บ 29 คน ส่วนใหญ่จากเหตุปะทะดินแดง...
ตั้งแต่เดือนสิงหาคม 2564 แยกดินแดงถูกขนานนามโดยใครหลายคนว่าเป็นสมรภูมิ พื้นที่ปะทะและประลองกำลังกันระหว่าง "ผู้ชุมนุมต่อต้านพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา" กับ "ตำรวจชุดคุมฝูงชน"...
การรวมตัวกันของกลุ่มผู้ชุมนุม “ทะลุแก๊ส” บริเวณแยกดินแดงได้ปรากฎภาพการปะทะกันระหว่างเยาวชนและเจ้าหน้าที่ตำรวจควบคุมฝูงชนครั้งแล้วครั้งเล่า โดยมีผู้ได้รับบาดเจ็บจากกระสุนยาง แก๊สน้ำตา...
"ถ้าเรามาเพื่อป่วนเมือง เราคงทุบเละหมดแล้ว ไม่ว่าจะเป็นทรัพย์สินของเอกชนหรือของรัฐ แต่ที่ผ่านมาเป้าหมายเราชัดเจนคือสู้กับรัฐเท่านั้นโดยไม่เคยไปแตะต้องทรัพย์สินเอกชน""แป๊ะ" สันติภาพ อร่ามศรี...
หากนับย้อนไปถึงวันที่ 1 สิงหาคม 2564 จะพบว่า เกิดเหตุการณ์ปะทะกันระหว่างตำรวจกับผู้ชุมนุมมาแล้วถึงสี่ครั้ง โดยการปะทะกันมักจะเกิดหลังจากเจ้าหน้าที่ตำรวจเริ่มปฏิบัติการสกัดหรือสลายการชุมนุม...
การชุมนุมวันที่ 18 กรกฎาคม 2564 หรือ #ม็อบ18กรกฎา เพื่อนำเสนอข้อเรียกร้อง 3 ข้อ ได้แก่ 1) ให้พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชาลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี 2)...