- เว็บไซต์ไอลอว์
- ศูนย์ข้อมูลฯ
กฏหมายชุมนุมสาธารณะ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือหรือ ‘อีสาน’ เป็นภูมิภาคหนึ่งที่มีการชุมนุมทางการเมืองอย่างคับคั่งไม่น้อยไปกว่ากรุงเทพมหานคร รายการ ‘ได้หมาย Young’ โดย iLaw พาไปรู้จักกับเยาวชนในภาคอีสานที่ออกมาเคลื่อนไหวทางการเมืองและถูกเจ้าหน้าที่รัฐคุกคามหรือดำเนินคดีในช่วงที่ผ่านมา
สำหรับในตอนแรก...
วันที่ 7 สิงหาคม 2564 เวลา 14.00 น. เยาวชนปลดแอกและเครือข่ายนัดชุมนุมกันที่อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ก่อนเวลานัดหมายในเวลา 12.20 น. ตำรวจเริ่มตั้งแถวสลายการชุมนุมตั้งแต่ยังไม่เริ่มชุมนุมและมีผู้ชุมนุมอยู่ไม่มากนัก เมื่อผู้ชุมนุมย้ายไปชุมนุมที่ทำเนียบรัฐบาลก็ถูกขวางด้วยแนวตู้คอนเทนเนอร์...
การชุมนุมวันที่ 18 กรกฎาคม 2564 หรือ #ม็อบ18กรกฎา เพื่อนำเสนอข้อเรียกร้อง 3 ข้อ ได้แก่ 1) ให้พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชาลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี 2) ลดงบประมาณสถาบันพระมหากษัตริย์และกองทัพเพื่อนำมาสู้โควิด 3) จัดหาวัคซีนป้องกันโควิด 19 ชนิด mRNA...
ในเดือนสิงหาคม 2564 แยกดินแดง บริเวณจุดตัดถนนอโศก-ดินแดงเข้าสู่ถนนวิภาวดีกลายเป็นพื้นที่ปะทะกันด้วยความรุนแรงระหว่างกลุ่มผู้ชุมนุมที่ขับไล่รัฐบาลพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา กับตำรวจชุดควบคุมฝูงชนอย่างน้อย 18 วัน จนถูกตั้งชื่อเล่นว่า “สมรภูมิดินแดง”...
“เค้าบอกว่ากลุ่มของเราเป็นภัยความมั่นคงของชาติ เราไม่ได้ไปฆ่าคนตายหรือค้ายานะ ไม่ได้ทำผิดกฎหมายหรือทำให้บ้านเมืองแย่ 6 คนต่อเจ้าหน้าที่ 49 คน มันสมควรแล้วหรอคะที่พวกคุณทำกับเราขนาดนี้”
คำบอกเล่าของ ‘เฟรม’ ‘ลีโอ’ และ ‘เปิ้ล’ สมาชิกเครือข่ายคนรุ่นใหม่นนทบุรี...