- เว็บไซต์ไอลอว์
- ศูนย์ข้อมูลฯ
กฏหมายชุมนุมสาธารณะ
24 ธันวาคม 2564 เวลา 10.30 น. คณะกรรมสิทธิมนุษยชนแห่งชาติแถลงรายงานผลการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่สำคัญประจำปี 2564 กรณีการชุมนุมทางการเมืองระหว่างเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2564 ซึ่ง กสม. มีมติในคราวการประชุมด้านการคุ้มครองและมาตรฐานการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ครั้งที่ 53/2564 (28) เมื่อวันที่...
#ตำรวจกระทืบหมอ เป็นแฮชแท็กที่ผู้ใช้ทวิตเตอร์ทวีตถึงมากที่สุดในคืนวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2564 หลังจากที่หนึ่งในอาสาสมัครทีม DNA บุคลากรทางการแพทย์และอาสาสมัครถูกตำรวจทำร้ายร่างกาย นับแต่นั้นสังคมเริ่มสนใจติดตามการทำงานและความปลอดภัยในการปฏิบัติหน้าที่ของแพทย์และพยาบาลอาสาในพื้นที่ชุมนุมมากขึ้น...
เปิดข้อมูลผู้บาดเจ็บจากเหตุปะทะในการชุมนุมตลอดปี 2564 พบผู้บาดเจ็บ 528 คน เป็นตำรวจ 146 นาย ผู้ชุมนุมเสียชีวิต 1 คน ตาบอด 2 คน เป็นนักข่าวบาดเจ็บ 29 คน ส่วนใหญ่จากเหตุปะทะดินแดง และโดนกระสุนยางยิงแบบขัดหลักสากล
จากการรวบรวมข้อมูลผู้บาดเจ็บจากการสังเกตการณ์ของเว็บไซต์...
ปี 2564 ตำรวจใช้กำลังเข้าสลายการชุมนุม 60 ครั้ง ในจำนวนนี้มี 42 ครั้งที่ถูกสลายการชุมนุมเพราะเข้าไปในพื้นที่หวงห้าม เช่น สนามหลวง, ทำเนียบรัฐบาล และกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์ (ราบ 1) กรณีของราบ 1 นั้นเป็นพื้นที่ที่นักกิจกรรมวางเป้าหมายแรกเริ่มไว้...
เท่าที่สามารถสืบค้นจากราชกิจจานุเบกษา มีประกาศเกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ใช้การควบคุมฝูงชนหนึ่งฉบับคือ ประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี เรื่อง เครื่องมือควบคุมฝูงชนในการชุมนุมสาธารณะ ซึ่งเผยแพร่เมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2558 ลงนามโดยพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีในยุคคสช. 1...