- เว็บไซต์ไอลอว์
- ศูนย์ข้อมูลฯ
กฏหมายชุมนุมสาธารณะ
2564 นับเป็นปีที่สองของการเคลื่อนไหวชุมนุมที่นำโดยคนรุ่นใหม่ ต่อต้านระบอบการปกครองของ คสช. การต่อสู้มีความท้าทายมากขึ้นจากข้อจำกัดในเรื่องสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด 19 อันทำให้การขยับขยายฐานผู้ชุมนุมบนท้องถนนพบอุปสรรคมากขึ้น...
10 พฤศจิกายน 2564 เวลา 15.00 น. ศาลรัฐธรรมนูญนัดอ่านคำวินิจฉัยในคดีที่ ณฐพร โตประยูร ร้องขอให้วินิจฉัยว่าการชุมนุมและปราศรัยของผู้ชุมนุมแปดคน ได้แก่ อานนท์ นําภา, ไมค์-ภาณุพงศ์ จาดนอก, รุ้ง-ปนัสยา สิทธิจิรวัฒนกุล, เพนกวิน-พริษฐ์ ชิวารักษ์, อั๋ว-จุฑาทิพย์ ศิริขันธ์, สิริพัชระ จึงธีรพานิช,...
การชุมนุมทางการเมืองที่ผ่านมาสื่อมวลชนมีบทบาทสำคัญในการเผยแพร่ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น ย้อนกลับไปในปี 2563 สื่อมวลชนทำหน้าที่เผยแพร่เนื้อหาข้อเรียกร้องทางการเมือง ซึ่งก่อนหน้านี้อาจเคยเป็นสิ่งที่อาจสื่อสารได้ไม่ง่ายนักอย่างเช่น การปฏิรูปสถาบันกษัตริย์ แม้ว่า...
สำนักข่าวราษฎรเป็นหนึ่งในสำนักข่าวออนไลน์ที่มีบทบาทสำคัญอย่างมากในการรายงานการชุมนุมทางการเมืองที่แยกดินแดง การรายงานข่าวส่วนใหญ่เป็นการไลฟ์สถานการณ์ยาวผ่านทางเฟซบุ๊กและยูทูบ อาจมีรายงานสรุปสถานการณ์บ้าง เบื้องหลังการรายงานการชุมนุมต่อเนื่องคือ โอปอ-ณัฐพงศ์ มาลี...
ปี 2563-2564 เป็นช่วงที่เยาวชนคนรุ่นใหม่ลุกขึ้นมาแสดงออกอย่างเข้มข้ม ทั้งการตั้งคำถามต่อระบบการศึกษา กฎระเบียบในโรงเรียน และประเด็นโครงสร้างทางการเมืองที่เป็นอนาคตของพวกเขา แม้พวกเขายังอายุไม่ถึง 18 ปี ไม่มีสิทธิเลือกตั้ง แต่ก็มีสิทธิที่จะแสดงออกและมีส่วนร่วมทางการเมือง...