- เว็บไซต์ไอลอว์
- ศูนย์ข้อมูลฯ
บทความ
2564 นับเป็นปีที่สองของการเคลื่อนไหวชุมนุมที่นำโดยคนรุ่นใหม่ ต่อต้านระบอบการปกครองของ คสช. การต่อสู้มีความท้าทายมากขึ้นจากข้อจำกัดในเรื่องสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด 19 อันทำให้การขยับขยายฐานผู้ชุมนุมบนท้องถนนพบอุปสรรคมากขึ้น...
19 พฤศจิกายน 2564 เป็นวันครบรอบหนึ่งปีพอดี ของการนำมาตรา 112 กลับมาใช้อีกระลอกหนึ่ง นับตั้งแต่พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ออกแถลงการณ์นายกรัฐมนตรีว่าจะบังคับใช้กฎหมาย “ทุกฉบับ ทุกมาตราที่มีอยู่” ต่อผู้ชุมนุม จากนั้นมาจำนวนคดี #ม112 ฐานหมิ่นกษัตริย์ฯ ที่เคยหายเงียบไปสองปีกว่า...
เป็นอีกครั้งหนึ่งที่ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 หรือกฎหมายหมิ่นประมาทกษัตริย์ (lèse-majesté law) กลายเป็นที่จับตาในเวทีนานาชาติ เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2564 ไทยเข้าสู่กระบวนการทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชน (Universal Periodic Review หรือ UPR) ...
วันที่ 10 พฤศจิกายน 2564 คณะผู้แทนไทยนำโดยธานี ทองภักดี ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ เข้าสู่กระบวนการทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชน (Universal Periodic Review หรือ UPR) ซึ่งเป็นกลไกลภายใต้คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (Human Rights Council) ที่ประเทศสมาชิกสหประชาชาติกว่า 193...
10 พฤศจิกายน 2564 เวลา 15.00 น. ศาลรัฐธรรมนูญนัดอ่านคำวินิจฉัยในคดีที่ ณฐพร โตประยูร ร้องขอให้วินิจฉัยว่าการชุมนุมและปราศรัยของผู้ชุมนุมแปดคน ได้แก่ อานนท์ นําภา, ไมค์-ภาณุพงศ์ จาดนอก, รุ้ง-ปนัสยา สิทธิจิรวัฒนกุล, เพนกวิน-พริษฐ์ ชิวารักษ์, อั๋ว-จุฑาทิพย์ ศิริขันธ์, สิริพัชระ จึงธีรพานิช,...