- เว็บไซต์ไอลอว์
- ศูนย์ข้อมูลฯ
ฐานข้อมูลคดี

ชื่อคดี
ผู้ต้องหา
วชิรวิชญ์ ลิมป์ธนวงศ์
สถานะคดี
คำอธิบายสถานะคดี ภาษาไทย
ชั้นศาลฎีกา
สถานะผู้ต้องหา
ได้รับการประกันตัว
ข้อหา / คำสั่ง
อื่นๆ (ละเมิดอำนาจศาล)
เนื้อหาคดีโดยย่อ
18 มกราคม 2565 สมาชิกกลุ่มทะลุฟ้าหกคน ได้แก่ ปีก วชิรวิชญ์, เปา ปวริศ, พี พีรพงศ์, ออ วิโรฌา, ไดโน่ นวพล และยาใจ ทรงพล เดินทางมามอบตัวตามหมายจั
ภายหลังการไต่สวนในวันที่ 3-4
ต่อมา 28 กุมภาพันธ์ 2566 ศาลอุทธรณ์มีคำสั่งยืนตามศาลชั้นต้น คือ กักขัง 15 วัน โดยไม่รอลงอาญา โดยทุกคนได้รับการประกันตัวระหว่างการยื่นฎีกา
ภูมิหลังผู้ต้องหา
วชิรวิชญ์ ลิมป์ธนวงศ์ หรือ ปีก สมาชิกกลุ่มทะลุฟ้า
ปวริศ แย้มยิ่ง หรือ เปา สมาชิกกลุ่มทะลุฟ้า
พีรพงศ์ เพิ่มพูน หรือ พี นักศึกษาคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น สมาชิกกลุ่มทะลุฟ้า
วิโรฌา ชัชวาลวงศ์ หรือ ออ สมาชิกกลุ่มทะลุฟ้า
นวพล ต้นงาม หรือ ไดโน่ นักศึกษาคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น สมาชิกกลุ่มทะลุฟ้า
ทรงพล สนธิรักษ์ หรือ ยาใจ นักศึกษาคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น สมาชิกกลุ่มทะลุฟ้า
ชวัลนาถ ทองสม
ข้อกล่าวหา
อื่นๆ (ละเมิดอำนาจศาล)
-
รูปแบบการจำกัดเสรีภาพ
การดำเนินคดี
-
ประเภทสื่อ
อื่นๆ
-
จังหวัด
กรุงเทพมหานคร
-
ศาล
ศาลอาญารัชดา
-
หมายเลขคดีแดง
คำอธิบายดคีแดง ภาษาไทย
ชั้นศาล: ลศ. No: 2/2565
เอกสารคำกล่าวหาสรุปได้ดังนี้
สืบเนื่องจากวันที่ 17 มกราคม 2
ในวันที่ 18 มกราคม 2565 ผู้
ในวันที่ 19 มกราคม 2565 ผู้กล่
- การเขียนข้อความ "ปล่อยเพื่อนเรา" "ประเทศทวย" "ยกเลิก 112" บนเก้าอี้แถวหลัง
- การเขียนข้อความบนปฏิ
- การเขียนข้อความ "ประเทศทวย ยกเลิก 112 ปล่อยเพื่อนเรา” ที่ประตูห้องน้ำด้านใน
- การเขียนข้อความ "ประเทศทวย" บนฝาครอบชักโครก
- การเขียนข้อความ "ยกเลิก ๑๑๒" ที่ผนังห้องโถงที่อยู่บริเวณหน้
- การเขียนข้อความ "ประเทศทวย" ที่ถังขยะ
- การเขียนข้อความ “ประเทศทวย” “112” ที่โทรศัพท์
- การดึงสติ๊กเกอร์แสดงสัญลักษณ์ "โปรดเว้นระยะห่าง" ที่ติดอยู่บนพนักพิงเก้าอี้
นอกจากนี้ ในบริเวณห้องเวรชี้ยังพบว่า มีพนักพิงเก้าอี้ยาวไม้หลุดเสี
ต่อมา ผู้กล่าวหาระบุว่าได้ประสานให้
หลังจากนั้น ผู้กล่าวหาได้สรุปว่า การกระทำของผู้ถูกกล่าวหาที่ 1-
ผู้ต้องหาเดินทางมามอบตัวและถูกส่งตัวไปเรือนจำโดยไม่มีการไต่สวน
17 มกราคม 2565
ในคดีการสาดสีที่ สน.ทุ่งสองห้อง จากการชุมนุมเมื่อวันที่ 3 สิงหาคม 2564 ศาลออกหมายจับสมาชิกทะลุฟ้าทั้
18 มกราคม 2565
9.00 น. สมาชิกทะลุฟ้าทั้ง 6 คนเดิ
21 มกราคม 2565
13.00 น. สมาชิกทะลุฟ้าทั้ง 6 คนเดิ
16.00 น. มีคำสั่งจากศาลให้ถอนประกั
17.30 น. สมาชิกทะลุฟ้าถูกนำตัวไปเรื
22 มกราคม 2565
ทนายความยื่นขอประกันตัวออ วิโรฌา ในวันนี้ และเวลา 14.00 น. ศาลอนุญาตให้ประกันตัว จึงปล่อยตัวจากทัณฑสถานหญิงกลาง
3 กุมภาพันธ์ 2565
นัดไต่สวนที่ศาลอาญา รัชดา ห้องพิจารณาคดีที่ 714 โดยผู้ถู
ก่อนเริ่มการพิจารณา ศาลได้ชี้แจงรายละเอียดข้อห้
เวลาประมาณ 9.30 น. ศาลเริ่มอ่านพฤติการณ์ที่
ต่อมา ทนายของผู้ถูกกล่าวหาที่ 1-3 แจ้งต่อศาลว่า ขอเลื่อนการไต่สวน เนื่องจากผู้ถูกกล่าวหาที่ถู
เวลาประมาณ 15.00 น. เริ่มต้นการไต่สวน ศาลได้เรียกให้ผู้ถูกกล่าวหายื
หลังจากการรับสารภาพ ศาลได้ให้เจ้าหน้าที่จากส่
เวลาประมาณ 15.40 น. มีการเบิกตัวผู้อำนวยการสำนั
ภายหลังคำกล่าวของผู้กล่าวหา ทนายของผู้ถูกกล่าวหาที่ 1-3 ได้ทักท้วงต่อศาลว่า “พฤติการณ์การขีดเขียนปฏิทินนั้
เวลาประมาณ 16.40 น. ศาลได้อ่านสรุปการไต่สวน และนัดหมายเพื่อไต่สวนรวมทั้งฟั
4 กุมภาพันธ์ 2565
นัดไต่สวนต่อเนื่องเป็นวันที่
เวลา 10.00 น. ศาลเริ่มการอ่านคำสั่งโดยไม่ไต่
สำหรับพฤติการณ์ขีดเขียนข้
ในเวลาประมาณ 16.00 ทั้ง 6 คนได้รับอนุญาตให้ประกันตัว โดยคนที่รับสารภาพคือ ปีก วชิรวิชญ์, เปา ปวริศและพี พีรพงศ์ มีเงื่อนไขการประกันตัวที่ระบุ
นอกจากนี้ สืบเนื่องจากความผิดฐานละเมิ
ทั้งนี้ เมื่อถึงเวลาปล่อยตัวที่หน้าเรื
5 กุมภาพันธ์ 2565
เวลา 16.20 น. ไดโน่ นวพล ได้รับการปล่อยตัวจากเรือนจำพิ
28 กุมภาพันธ์ 2566
นัดฟังคำพิพากษาศาลอุทธรณ์
เวลา 10.16 น. ศาลอุทธรณ์ อ่านคำสั่งโดยสามารถสรุปได้ว่า ตามที่จำเลยอ้างว่าขอให้ศาลรอการลงโทษ เพราะพฤติการณ์ที่ทำไปมาจากความโกรธเคืองเจ้าพนักงานและรู้สึกว่าไม่ได้รับความเป็นธรรมนั้น ไม่มีความเกี่ยวข้องกับข้อความที่ขีดเขียนลงบนผนัง จึงไม่มีเหตุให้รอการลงโทษ พิพากษากักขัง 15 วันตามที่ศาลชั้นต้นพิพากษา
ภายหลังอ่านคำพิพากษา ได้มีเจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์จำนวนหนึ่งคนพาทั้งสามเดินลงไปรอที่ห้องใต้ถุนศาล จากนั้น ทนายได้ยื่นเรื่องประกันตัวออนไลน์ ต่อมา เวลา 16.00 น. ศาลมีคำสั่งให้ประกันโดยไม่มีเงื่อนไข ทั้งสามจึงได้รับการปล่อยตัว
คำพิพากษาศาลชั้นต้น
ให้ผู้ถูกกล่าวหาที่ 1-3 ได้แก่ ปีก วชิรวิชญ์, เปา ปวริศและพี พีรพงศ์ มีความผิดฐานละเมิดอำนาจศาล ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 30, 31(1), 33 ประกอบประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 15 จำคุกคนละ 1 เดือน คำให้การรับสารภาพเป็นประโยชน์แก่การพิจารณา ลดโทษให้กึ่งหนึ่ง ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 78 คงจำคุกคนละ 15 วัน
เมื่อพิจารณาถึงอายุ การศึกษา สภาพความผิดและรู้สำนึกในการกระทำของผู้ถูกกล่าวหาทั้งสาม เมื่อโทษจำคุกที่จะลงแก่ผู้ถูกกล่าวหาทั้งสามมีกำหนดไม่เกินสามเดือน เมื่อปรากฎว่าผู้ถูกกล่าวหา เคยได้รับโทษจำคุกมาก่อน จึงเห็นสมควรให้ลงโทษกักขังแทนโทษจำคุกมีกำหนด 15 วันนับแต่วันนี้ และตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 23 ให้ยกคำกล่าวหาสำหรับผู้ถูกกล่าวหาที่ 4-6
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ สามารถสรุปได้ว่า
ตามที่จำเลยระบุว่าขอให้ศาลรอการลงโทษ เพราะพฤติการณ์ที่ทำมาจากความโกรธเคืองเจ้าพนักงานและรู้สึกไม่ได้รับความเป็นธรรมนั้น ไม่มีความเกี่ยวข้องกับข้อความที่ขีดเขียนลงบนผนัง จึงไม่มีเหตุให้รอการลงโทษ พิพากษากักขัง 15 วันตามที่ศาลชั้นต้นพิพากษา