- เว็บไซต์ไอลอว์
- ศูนย์ข้อมูลฯ
บทความ
11 ตุลาคม 2564 ระหว่างที่ศาลอาญากรุงเทพใต้กำลังพิจารณาคดีมาตรา 112 ที่เกิดจากการชุมนุมหน้าสถานทูตเยอรมนีประจำประเทศไทย ชายผิวขาวหนึ่งใน 13 จำเลยซึ่งร่วมอ่านแถลงการณ์ในวันนั้น ปรินท์กระดาษรูปของทนายอานนท์ นำภา และเบนจา อะปัญ จำเลยคดีมาตรา 112 ...
หากปักหมุดว่า ปี 2563 คือปีแห่งการลุกขึ้นสู้ของผู้ชุมนุมที่เรียกร้องให้ปฏิรูปสถาบันพระมหากษัตริย์ ปี 2564 ก็คงจะเป็นปีแห่งการโต้กลับที่รัฐใช้กลไกและองคาพยพต่างๆ รวมถึงประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 ดำเนินคดีกับผู้ชุมนุม ส่งผลให้เข้าสู่ยุคสมัยที่คดีมาตรา 112 พุ่งสูงที่สุดในประวัติศาสตร์ มาถึงปี 2565...
ในวัย 23 ปี อาจเป็นช่วงอายุที่ใครหลายคนกำลังศึกษาเล่าเรียน เริ่มต้นชีวิตทำงาน หรือออกไปค้นพบโลกกว้างใบใหม่ เช่นเดียวกันกับ ก้อง-อุกฤษฏ์ สันติประสิทธิ์กุล นักศึกษาปีสี่ ชาวพัทยา ที่กำลังจะเรียนจบจากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
ในปี 2563-2564 ก้องขึ้นปราศรัยหลายครั้งในนาม “...
15 ธันวาคม 2565 ศาลแขวงปทุมวันนัดยิ่งชีพ อัชฌานนท์ จำเลยที่ถูกกล่าวหาว่าฝ่าฝืนคำสั่งเจ้าพนักงานด้วยการไม่ยอมพิมพ์ลายนิ้วมือตามคำสั่งของพนักงานสอบสวนสน. ลุมพินีรวมสามครั้งฟังคำพิพากษา ศาลมีคำพิพากษายกฟ้อง ระบุว่า...
“เราจะเป็นคนบนดอยคนเดียวที่มาอยู่ในกรุงเทพฯ และต่อสู้กับเหล่าบรรดานักธุรกิจทั้งหลายเหรอ?”
ในปี 2563 คำถามหนึ่งผุดขึ้นมาในหัวของ “พรชัย วิมลศุภวงศ์” หรือชื่อเล่นที่เขาตั้งให้ตัวเองคือ มาริโอ้ พรชัยเป็นชาวปกาเกอะญอที่ตัดสินใจเดินทางออกจากชีวิต “บนดอย” มาทำงานหากินอยู่ในเมืองหลวง...